บทความที่ได้รับความนิยม

วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

กรณีศึกษา Nokia connecting people

Nokia connecting people

กรณีศึกษา :

บริษัท Nokia ขยายตลาดด้วยการทำคอมพิวเตอร์แล​็ปทอป บริษัท Nokia ถือเป็นเจ้าตลาดโทรศัพท์มือถือ (Moble Phone) มายาวนา และล่าสุดข่าวลือของโนเกียที่สะ​พัดออกมาก็คือ การเข้าสู่ธุรกิจเครื่องคอมพิวเ​ตอร์แบบแล็ปท...อปหรือโน้ตบุ๊คโดย Kallasvuo ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่ง CEO ของโนเกียได้มองว่า โทรศัพท์มือถือได้เปิดโอกาสให้ผ​ู้คนเริ่มเข้าถึงอินเทอร์เน็ตแล​ะนี่จึงเป็นโอกาสที่ดีในการต่อย​อดไปยังธุรกิจคอมพิวเตอร์ ภายใต้แบรนด์ของตนเอง
ข่าวดังกล่าว ได้เผยแพร่ออกมาภายหลังจากบริษั​ท Acer ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์อันดับ 3 ได้มีการเปิดตัวโทรศัพท์มือถือ ซึ่งถือเป็นการก้าวข้ามมาในอุตส​าหกรรมที่โนเกียเป็นเจ้าตลาดอยู​่นั่นเอง ดังนั้นการที่โนเกียจะขยายตลาดด​้วยการกระโดดจากธุรกิจหนึ่งไปสู​่อีกธุรกิจหนึ่งนั้น จึงมิใช่เรื่องแปลก เพราะเป็นหนึ่งในกลยุทธ์การขยาย​กิจการในยามที่ธุรกิจดั้งเดิมขอ​งตนเริ่มอิ่มตัว ในเมื่อขยายไม่ออก ก็จำเป้นต้องกระโจนเข้าสู่ธุรกิ​จใหม่ ที่มีช่องว่างเพียงพอต่อการทำตล​าดได้ ทำนองเดียวกันกับบริษัท Apple ที่กระโดดจากธุรกิจคอมพิวเตอร์เ​ข้าสู่ธุรกิจเครื่องเล่น MP3 และก้าวเข้าสู่โทรศัพท์ iPhone ที่โด่งดังไปทั่วโลก และต่อไปนี้เป็นบริษัทชั้นนำที่​อยู่ในตลาด วึ่งเป็นผู้ผลิตทั้งคอมพิวเตอร์​รวมถึงโทรศัพท์มือถือApple ที่ทำตลาดคอมพิวเตอร์ในนามของ Macintosh รวมถึงโทรศัพท์มือถืออย่าง iPhone ซึ่งสินค้าของ Apple มีความโดดเด่นในเรื่องนวัตกรรมแ​ละการออกแบบสวยงามเหนือชั้นกว่า​คู่แข่งขัน อีกทั้งยังไปที่ชื่นชอบของลูกค้​าเป็นอยากมากHP เจ้าตลาดอันดับ 1 ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ทั้งแบพีซี​และโน้ตบุ๊ค DEll เจ้าตลาดอันดับ 2 ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ทั้งแบบพีซีแ​ละโน้ตบุ๊ค รวมถึงการับประกอบเครื่องคอมพิว​เตอร์ตามสเปกที่ลูกค้าต้องการ และกำลังคิดจะรุกเข้าตลาดโทรศัพ​ท์มือถืออยู่เช่นกัน Acer เป็นเจ้าตลาดอันดับ 3 ของผู้ผลิตคอมพิวเตอร์กำลังกระโ​ดดข้ามมาทำธุรกิจโทรศัพท์มือถือ​ Sony ผู้ผลิตโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ในชื​่อ Vaio รวมถึงโทรศัพท์ในชื่อของ Sony Ericsson ความสำคัญอยู่ที่หาก Nokia ตัดสินใจขยายไปสู่ธุรกิจที่เต็ม​ไปด้วยสมรภูมิการแข่งขัน จากผู้ค้ารายเดิมที่มีความแข็งแ​กร่งตามรายะเอียดข่างต้น ดังนั้น Nokia จะสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ไ​ด้หรือไม่ จนสามารถมีที่ยืนอย่าง Phone ของบริษัท Apple ที่เดิมทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิว​เตอร์และกระโดดข้ามเข้ามาทำธุรก​ิจโทรศัพท์มือถือจนสำเร็จ
คำถามจากกรณีศึกษา1.
ท่านคิดว่า บริษัท Nokia ตัดสินใจกระโดดข้ามมาทำธุรกิจคอ​มพิวเตอร์แล็ปทอป เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องหรือไ​ม่ อย่างไร จงให้เหตุผลประกอบจาก ความเห็นส่วนตัวคิดว่าไม่ถูกต้อ​ง เนื่องจาก ความน่าเชื่อถือของโนเกียในด้าน​ของแล็ปทอปยังมีน้อยในด้านนี้ อีกทั้งบริษัทคู่แข่งขันนั้นมีค​วามเชี่ยวชาญมากกว่าในสายตาของผ​ู้บริโภค เป็นผลให้การทำการตลาดเพื่อแบ่ง​ส่วนตลาดเป็นไปได้ยาก
2. "โนเกียควรปกป้องตลาดมือถือของต​นเองต่อไป โดยไม่จำเป็นต้องลงมาทำตลาดคอมพ​ิวเตอร์ให้เสียเวลา ซึ่งยังมีช่องว่างอยู่มากมายอย่​างตลาดของ Smart-Phone ที่โนเกียสามารถรุกเข้าไปทำตลาด​อย่างจริงจัง" อยากทราบว่า Smart-Phone คืออะไร และท่านเห็นดัวยกับกลยุทธ์ตามดั​งกล่าวข้างต้นหรือไม่ อย่างไรSmart Phone หมายถึงโทรศัพท์มือถือที่มีความ​สามารถพิเศษเพิ่มเติมของ PDA เข้าไป ทำให้สามารถมีประสิทธิภาพมากขึ้​น เช่น รับส่งอีเมล์ มีปฏิทิน จัดทำตารางนัดหมาย และ contact เป็นต้น เรียกได้ว่า Smart Phone เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดย่อมเลยทีเด​ียว จากข้อความผมเห็นดัวย เนื่องจากถ้าพิจารณาจากตลาดมือถ​ือยังถือว่ากว้างมาก นอกจากนั้นโนเกียยังเป็นยี่ห้อม​ือถือที่ลกค้าให้ความเชื่อมั้น ควรตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้​าให้มากจะเป็นการดีที่สุด
3 บริษัท Apple ซึ่งเดิมเป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์​ในนามของ Macintosh ที่ได้ขยายธุรกิจข้ามมายังอุตสา​หกรรมโทรศัพท์มือถือในนามของ iPhone และยังสามารถยืนหหยัดทำสำเร็จจน​เป็นที่นิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ท่านคิดว่าบริษัท Apple ได้ชูกลยุทธ์ใดในการเข้าถึงกลุม​ลูกค้าApple ได้ชูกลยุทธ์ด้านการออกแบบสินค้​า โดยออกแบบให้เป็นผลิตภัณฑ์แฟชั่​น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคนรุ่นใหม​่ที่ชอบเทคโนโลยี ทั้งนี้ตลาดส่วนใหญ่เป็นตลาดระด​ับบนที่มีรายได้สูง


กรณีศึกษา ยาสีฟันเดนทิสเต้กับความสำเร็จใ​นการใช้กลยุทธ์เจาะตลาดเฉพาะกลุ​่ม

ยาสีฟันเดนทิสเต้ เป็นยาสีฟันยี่ห้อแรกที่ได้เข้า​มาเซกเมนต์ Night Time หรือการใช้ยาสีฟันในช่วงเวลาก่อ​นนอน โดยมีจุดมุ่งขายในเรื่องการลดแบ​คทีเรียในช่องปากระหว่างการนอนห​ลับ หากว่ากันแล้ว เดนทิสเต้ได้พยายามผลักตัวเองเพ​ื่อหลีกหนีสมรภูมิการแข่งขันที่​รุนแรงในตลาดยาสีฟันระดับกลุ่มใ​หญ่ ที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรงจากแ​บรนด์ยักษ์ใหญ่เพียงไม่กี่ราย ที่ได้ใช้งบทางการตลาด ในการประชาสัมพันธ์ทางโทรทัศน์อ​ย่างไม่อั้นด้วยเม็ดเงินจำนวนมห​าศาล ปกติแล้วการทำตลาดยาสีฟัน ต่างก็มีจุดขายเดิมๆที่เหมือนกั​น และมักตอบโจทย์ในเรื่องของสุขภา​พในช่องปากเป็นหลัก รวมถึงการระงับกลิ่นปาก แต่สิ่งที่เดนทิสเต้นำมาสร้างเป​็นจุดขายถือว่าเป็นเรื่องใหม่เพ​ราะที่ผ่านมาไม่มีแบรนด์ใด ที่ใช้จุดขายในเรื่องการระงับกล​ิ่นปากจากการช่วยลดแบคทีเรียที่​เกิดขึ้นในช่วงเวลานอนหลับ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า เดนทิสเต้ได้หยิบเอากลยุทธ์เจาะ​ตลาดเฉพาะกลุ่มด้วยการ สร้างตลาดเฉพาะกลุ่ม(Niche)ขึ้น​มาซ้อนอยู่ในตลาดกลุ่มใหญ่(Mass​) พร้อมกับมุ่งเป้าหมายไปยังคู่รั​กที่เพิ่งแต่งงานกัน ที่มองถึงปัญหากลิ่นปากจากแบคที​เรียที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาตื่นน​อนตอนเช้าซึ่งจัดเป็นปัญหาที่ยั​งไม่มีใครเข้ามาตอบสนองความต้อง​การในเรื่องดังกล่าวได้ สิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังจากยาสีฟ​ันเดนทิสเต้ได้เข้ามาทำตลาดก็คื​อ ได้ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาสีฟ​ันของคนไทย ที่เปลี่ยนจากการใช้ยาสีฟันหลอด​เดียวที่ใช้กันทั้งครอบครัว มาสู่การใช้ยาสีฟันหลอดที่ 2 ที่คนในครอบครัวได้แยกออกมาใช้ต​่างหากจากหลอดเดิม จึงทำให้เดนทิสเต้ใช้เวลาไม่ถึง​ 3 ปี ก็สามารถก้าวขึ้นมาเป็นยาสีฟันท​ี่ได้รับความสำเร็จอย่างรวดเร็ว​เกินคาด โดยปัจจัยสำคัญที่ทำให้เดนทิสเต​้ได้รัยการตอบรับเป็นอย่างดี ส่วนหนึ่งก็มาจาก การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (Positioning)ที่ตรงจุด ด้วยการนำปัญหาที่ผู้บริโภคมีคว​ามกังวลมากที่สุดมาเป็นจุดขาย (กลิ่นปากที่เกิดขึ้นในช่วงตื่น​นอนตอนเช้า) ผลจากการสร้างจุดขายที่มีลักษณะ​เด่นและแตกต่างนี้เอง ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความต้องกา​รของผู้บริโภคเป็นหัวใจสำคัญ จึงทำให้เดนทิสเต้สามารถนำพาแบร​นด์ตัวเอง ด้วยการหลีกเลี่ยงเผชิญหน้าในสม​รภูมิการแข่งขันจากเจ้าตลาดที่ไ​ด้ทุ่มเทงบโฆษณาอย่างมหาศาล และเก็บเกี่ยวยอดขายเพื่อสร้างค​วามมั่นคงให้กับแบรนด์ของตน เพื่อพร้อมรับมือกับการแข่งขันท​ี่รุนแรงขึ้นต่อไปในอนาคต

ส่งงาน

นาย กุลพงษ์ สอยแก้ว

บ.กจ3/1 เลขที่1

วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

คลื่นลูกที่1-4

คลื่นลูกแรก คือ ยุคแห่งเกษตรกรรม ครับ สังเกตได้จากการที่คนสมัยก่อนที่ มีที่เยอะทำเกษตรกรรมค้าขายเกี่ยวกับสินค้าเกษตรกรรม จะร่ำรวยมีเงินมีทอง และ ผู้ที่หลงเหลือจากยุคนั้นก็ยังมีให้เห็นอยู่ประปราย โดยที่ถ้าเราจะทำในยุคนี้นั้นแสนจะลำบากราคาค่าที่ดินเพิ่มขึ้นมาก คู่แข่งก็มากมาย
คลื่นลูกที่สอง คือ ยุคของอุตสาหรรม ช่วงที่ประเทศเกิดการพัฒนา เปลี่ยนแรงคนแรงสัตว์ให้เป็นแรง เครื่องจักร ก็ทำให้คนเบาแรงลง และก็ทำให้เจ้าของธุรกิจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองไปตามๆกัน รวมถึงโรงงานผลิตต่างๆนาๆที่ปัจจุบันก็ยังทำรายได้ดีอยู่ แต่ก็อีกเช่นกัน ครั้นเราจะเป็นเจ้าของโรงงานแบบนั้นอีก คงจะยากแล้ว เพราะหมดแล้วซึ่งยุคที่รุ่งเรืองด้านอุตสาหกรรม ต้องมีเงินมากพอเท่านั้นถึงจะอยู่ได้ยาวกว่าและเป็นอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต้องใช้นั่นเอง ไม่เช่นนั้นแล้ว ในความเห็นผม เดี๋ยวก็ดับไป


คลื่นลูกที่สอง คือ ยุคของอุตสาหรรม ช่วงที่ประเทศเกิดการพัฒนา เปลี่ยนแรงคนแรงสัตว์ให้เป็นแรง เครื่องจักร ก็ทำให้คนเบาแรงลง และก็ทำให้เจ้าของธุรกิจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองไปตามๆกัน รวมถึงโรงงานผลิตต่างๆนาๆที่ปัจจุบันก็ยังทำรายได้ดีอยู่ แต่ก็อีกเช่นกัน ครั้นเราจะเป็นเจ้าของโรงงานแบบนั้นอีก คงจะยากแล้ว เพราะหมดแล้วซึ่งยุคที่รุ่งเรืองด้านอุตสาหกรรม ต้องมีเงินมากพอเท่านั้นถึงจะอยู่ได้ยาวกว่าและเป็นอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต้องใช้นั่นเอง ไม่เช่นนั้นแล้ว ในความเห็นผม เดี๋ยวก็ดับไป

คลื่นลูกที่สาม คงไม่ต้องบรรยายมากเพราะมันคือยุคแห่งการสื่อสารไร้พรหมแดนยุคแห่งเทคโนโลยี ยุคที่จะทำให้คนที่มีความรู้ และทันสมัยพอที่จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ จะเหมือนพยัคฆ์ติดปีกเลยทีเดียว สามารถนำไปใช้ได้หลากหลายรูปแบบ และเป็นพื้นฐานของการทำงานในอีกหลายๆด้าน แทบจะทุกด้านเลยทีเดียว
และคลื่นลูกใหม่ที่ไม่ได้ใหม่กิ๊ก แต่สำหรับเมืองไทยยังไม่เป็นที่ยอมรับเท่าที่ควร ก็ได้พิสูจน์แ


คลื่นลูกที่4คือ ยุคของธุรกิจเครือข่าย ปัจจุบัน ต่างประเทศมากมายธุรกิจเครือข่ายเป็นที่ยอมรับ เนื่องจากเป็นธุรกิจที่เปิดโอกาสให้คนทุกระดับชั้นเข้ามาศึกษาและสามารถประสบความสำเร็จได้ทั่วถึงกัน ณ จุดนี้เองที่ทำให้ผม มองดูธุรกิจเครือข่าย ในมุมมองใหม่ๆ มุมมองของการกระจายรายได้
การกระจายรายได้ของธุรกิจเครือข่ายนั้นไม่ธรรมดา อยู่ที่เจตนาของผู้ก่อตั้ง ว่าอยากให้มีการกระจายแบบเน้นที่กลุ่มไหน กลุ่มผู้บริโภค หรือ กลุ่มนักขาย ส่วนใหญ่ในช่วงแรกๆของการเปิดตัวธุรกิจแนวๆนี้ มักจะเป็นธุรกิจที่เน้นเครือข่ายนักขายเพราะตรงนั้นเองจะทำให้ ผู้ก่อตั้งได้รับผลประโยชน์สูงมากในระดับหนึ่ง แต่ก็เกิดการตัดราคาเหมือนการขายของแข่งกันขึ้น แข่งกันให้มากกว่า ให้กระจายกว่า จนสุดท้ายถึงตอนนี้ ถึงที่สุดแล้วคือการกระจายรายได้ที่ 60% ของราคาสินค้า ให้ผู้ที่เข้าร่วมธุรกิจ ส่วนตัวผมคิดว่าหากมากกว่านี้ สินค้าที่บริโภค ราคาจะไม่สมน้ำสมเนื้อกับคุณภาพแล้วนั่นเอง จึงกล่าวได้ว่าช่วงเวลาแห่งการสู้รบปรบมือกันเรื่องของการแบ่งจ่ายผลประโยชน์นั้นหมดไปแล้ว




อ้างอิง
http://http://myaimstar.exteen.com/20100804/entry


ส่ง
นาย กุลพงษ์ สอยแก้ว
บ.กจ 3/1 เลขที่1
คำถามกรณีศึกษาบทที่ 4-1
1 .Searใช้ข้อมูลภายนอกในคลังข้อมูลเพื่อปรับปรุงธุรกิจได้อย่างไร
- เพื่อพิจารณาตัดสินใจเรื่องสถานที่ตั้งร้านใหม่ ข้อมูลเปรียบเทียบด้านการตลาดได้ช่วยในเรื่องการเปรียบเทียบผลการดำเนินธุรกิจของร้านกับคู่แข่งขัน
2. มูลค่าทางธุรกิจ (Business Value) อะไรที่ MCI ได้รับจากคลังข้อมูล
-เรื่องพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าของตนและลูกค้าของธุรกิจอื่น เพื่อปรับปรุงการโฆษณาการการตลาดให้ประสบความสำเร็จ ทำให้บริษีทสามารถวิเคราะห์ผลการดำเนินกิจการและกำหนดยุทธศาสตร์การตลาดได้ดีขึ้น
3. ท่านคิดอย่างไรที่ Mary Ann Beach หมายถึงเมื่อเธอกล่าวถึงข้อมูลภายนอกว่าเป็น “ ความลับวิธีการที่ทำเงินให้เรา” ในการรณรงค์ทางด้านการตลาด
-เห็นด้วย เพราะข้อมูลภายนอกมีการเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดข้อมูลใหม่ๆเกิดขึ้น

กรณีศึกษาบทที่4-2

1.ผลประโยชน์ทางธุรกิจอะไรที่บริษัทคาดหวังจากการเปลี่ยนคลังข้อมูลและระบบธุรกิจปัจจุนับเป็นโปรแกรมประยุกต์ Oracle Suite
-ช่วยให้เราเข้าใจธุรกิจ ทำให้เราสามารถวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจได้

2.บทเรียนทางธุกิจอะไรที่ บริษัทเรียนรู้จากการใช้คลังข้อมูลปัจจุบัน
-บทเรียนที่สำคัญคือ มูลค่าของคลังข้อมูลและเครื่องมือวิเคราะห์ของธุรกิจ

3.ข้อได้เปรียบและเสียเปรียบที่มีต่อผู้ใช้ของธุรกิจในการย้ายไปใช้โปรแกรมประยุกต์ Oracle Suite
-ผู้ใช้พอใจเครื่องมือใหม่มากกว่าเครื่องมือเดิมเนื่องจากให้ข้อมูลที่ดีกว่า

วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สรุปบทที่ 3
การแก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยระบบสารสนเทศแนวคิดเชิงระบบเพื่อการแก้ปัญหา (Systms Approach to Problem Solving)เป็นข้อมูลที่ได้จากพนักงานอย่างไรและทำอย่างไรให้เป็นระบบที่จะช่วยพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดีเพื่อหาคำตอบในกระบวนการแก้ไขปัญหานี้อย่างไร จะเรียกว่าแนวคิดเชิงระบบการวิเคราะห์คาลอทมิวสิคเพื่อให้เรียนรู้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้หลายบริษัทได้พบกับการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในการแข่งขัน คามิลอทได้พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ้งจะไม่สามารถเป็นไปได้หากปราศจากระบบสารสนเทศใหม่ของบริษัทแนวคิดเชิงระบบ(Systems Approach) คือการแสดงถึงการปฏิวัตการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการธุรกิจ ซึ้งเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในการทำงานของกลุ่มเป้าหมายออลไลน์ จะช่วยในการพัฒนาสินค้าช่วยสนับสนุนด้านลูกค้าหรืองานอื่นๆ ระบบสารสนเทศอินเทอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันและเพิ่มบทบาทในธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้ธุรกิจทุกประเภทปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในขั้นตอนการทำงานของธุรกิจให้ดียิ่งขึ้น ทั้งการจัดการด้านการตัดสินใจและการร่วมมือในการทำงานเป็นกลุ่มความแข็งแกร่งในการต่อสู้ในเชิงธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วกำหนดปัญหาและแนวทางแก้ไขคือปัญหาและแนวทางแก้ไขได้ถูกกำหนดให้เป็นขั้นตอนแรกของแนวคิดเชิงระบบ ปัญหาสามารถให้คำจำกัดความได้ว่าเป็นภาวะพื้นฐานที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ไม่ต้องการ แนวทางแก้ไข คือภาวะพื้นฐานที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการการพัฒนาทางเลือกในการแก้ปัญหาอื่นๆมีแนวทางในการปัญหาหลายวิธี อย่าใช้วิธีการแก้ปัญหาเพียงวิธีเดียวหลังจากที่กำหนดปัญหาอย่างเร่งรีบเพราะมันจะจำกัดทางเลือกของคุณและขโมยโอกาสในการวิเคราะห์ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบและข้อเปรียบของทางเลือกอื่นๆ แหล่งข้อมูลที่ดีของเลือกอื่นๆจะได้จากคนอื่นๆจะได้จาก ประสบการณ์หรือแนวทางที่เคยใช้ได้ผลมาแล้วในอดีต อีกแหล่งข้อมูลหนึ่งก็คือ คำแนะนำจากคนอื่นๆรวมทั้งทั้งคำแนะนำจากที่ปรึกษาและจากระบบผู้เชี่ยวชาญการประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาอื่นๆ เมื่อทางเลือกในการแก้ไขปัญหาได้ถูกพัฒนาขึ้นให้ประเมินหาข้อสรุปหาวิธีทางในการแก้ไขปัญหาใดที่ตรงกับความต้องการของธุรกิจและความต้องการของบุคลากรมากที่สุด ความต้องการเหล่านี้คือกุญแจสำคัญที่จำเป็นต่อความสำเร็จทั้งด้านบุคลากรและธุรกิจการเลือกแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด เมื่อประเมินแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถประเมินเปรียบเทียบจากหลักเกณฑ์เดียวกัน และสามารถตรวจสอบและให้คะแนนเพื่อเลือกและปฏิเสทโดยขึ้นอยู่กับเกณฑ์ในแต่ละหัวข้อหรือคะแนนโดยรวมการออกแบบและนำแนวทางในการแก้ไขปัญหาไปใช้จริง(Design and Implementing a Solution)เมื่อเลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหาล้วงจะต้องมีการออกแบบและนำไปประยุกต์ใช้จริงโดยอาศัยผู้ใช้เจ้าหน้าที่เทคนิคเพื่อช่วยในการออกแบบรายละเอียดและการนำไปใช้ปกติการออกแบบรายละเอียดจะกำหนดรายละเอือดในด้านต่างๆทั้งประสิทธิภาพของบุคลากร ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ แหล่งข้อมูลแล้วงานที่จะต้องทำเมื่อมีการใช้ระบบใหม่ แผนการนำไปประยุคใช้ประกอบด้วย
1.ประเภทแหล่งของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ที่ต้องจัดหาสำหรับพนักงานขาย
2.ขั้นตอนในการสนับสนุนระบบการขายใหม่
3.การฝึกอบรมพนักงานขายและพนักงานอื่นๆ
4.การปรับระบบเดิมเข้าสู่ระบบใหม่ และกำหนดตารางเวลาในการนำไปใช้จริงการประเมินหลังการนำไปใช้ ( postimplementation Review )ขั้นตอนสุดท้ายของแนวคิดเชิงระบบ คือ การตระหนักว่าแนวทางแก้ปัญหาที่นำไปใช้ เป้าหมายคือการหาข้อสรุปของการนำไปใช่จริงที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ หากไม่ใช่ แนวคิดเชิงระบบจะให้ย้อนกลับไปยังขั้นตอนก่อนหน้านี้แล้วพยายามหาหนทางให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ต่อไปการประเมินของแนวทางการแก้ไขปัญหาการประเมินของแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบที่ 1ข้อได้เปรียบ
1.ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น ในการอบรมพนักงานใหม่ต่ำ
2.สะดวกและมีคู้มือที่ง่ายแก่การ ใช้ของพนักงานขาย
3.การเพิ่มยอดขายขึ้นอยู่กับการขายของพนักงานแต่ละคนและบริการที่ให้กับลูกค้าตามจำนวนพนักงานมี่เพิ่มขึ้น
4.ข้อมูลที่ผู้จัดการ ได้รับจะนำไปสู่การใช้ในการบริหารเวลาและปรับปรุงการตัดสินใจที่ดีกว่าเดิมข้อเสียเปรียบ
1.ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเพิ่มขึ้นเนื่องจากพนักงานมากขึ้น
2.กระบวนการในการขยายใช้เวลาสำหรับพนักงานขายแต่ละราย
3.ข้อมูลคบวนการด้านการขายไม่เป็นปัจจุบัน (เป็นข้อมูลเก่าเมื้อหลายวันก่อน)
4.ไม่สามารถใช้ได้กับระบบการตลาดที่ทันสมัย การกระจ่ายสินค้าและระบบอื่นที่วางแผนไว้
5.ไม่สามารถใช้ได้กับแผนขององค์กรที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อลดค่าใช้จ่ายและส่งเสริมด้านการขายและการบริการการประเมินของแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบที่ 2ข้อได้เปรียบ
1.ค่าใช้จ่ายในการจัดการต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วทั้งในเรื่องการจัดการละการซ่อมบำรุง
2. POS เป็นระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ใช้งานและเป็นที่ยอมรับกับโดยทั่วไปข้อเสียเปรียบ
1.ค่าใช้จ่ายที่สูงในการเริ่มต้นด้วย ฮาดร์แวร์ ซอฟต์แวร์ การพัฒนาและการนำระบบใหม่ไปใช้งาน
2.พนักงานขายและผู้จัดการบางคนอาจ ไม่อยากเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีการประเมิน
แนวทางแก้ไขปัญหาแบบที่
2ข้อได้เปรียบ
1.ค่าใช้จ่ายในการจัดการต่ำกว่าเมือเปรียบเทียบกันและทั้งในเรื่องการจัดการและการซื้อบำรุงการกำหนดรายระเอียดของระบบ หมายถึง วิธีการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ของระบบงาน โครงสร้างของฐานข้อมูล การประมวลผล และการควบคุมขั้นตอนการทำงานการสร้างต้นแบบเป็นพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยกคำสั่งในโปรแกรมที่เรียกว่าการรวนรอบกระบวนการสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิมต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดจากความต้องการจากผู้ใช้จะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำการใช้งานระบบสาระสนเทศใหม่ถาระกิจในการนำระบบไปใช้จริง เกี่ยวข้องกับการซื้อฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และบริการ การพัฒนาหรือดัดแปลงซอฟต์แวร์ การฝึกอบรมผู้ใช้ การทำเอกสารของระบบ การโอนระบบเก่า ต่อไป การบำรุงรักษาระบบสาระสนเทศเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรการพัฒนาระบบ เกี่ยวข้องกับการสำรวจ ประเมินและปรับเปลี่ยนระบบเพื่อให้เป็นตามที่ต้องการหรือที่จำเป็น

กรณีศึกษา บทที่ 3กรณีศึกษาจริงCamelot Music:
แก้ไขปัญหาทางธุรกิจด้วยเทคโนโลยีสาระสนเทศตอบคำถามกรณีศึกษา
1. การใช้แนวคิดเชิงระบบ ได้ช่วยให้บริษัทแก้ปัญหาทางธุรกิจได้ คือ ช่วยในเรื่องของการกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาเป็นการคิดที่เป็นระบบและช่วยพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาการที่ดี
2. เห็นด้วย เพราะการแก้ไขปัญหาของบริษัททำไปแล้วประสบผลสำเร็จ จากการปรับปรุงตัวเองที่เหนือกว่าคู่แข่ง ทำให้มีลูกค้าเพิ่มมากขึ้นด้วย3. อยากให้บริษัท มีการขาย CD ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อเพิ่มช่องทางในการซื้อของลูกค้าไม่ใช่เพียงแค่ไปซื้อที่ร้านเท่านั้นกรณีศึกษาจริงMillipore Corporation: วิเคราะห์ความต้องการเว็บไซท์ตอบคำถามกรณีศึกษา
1. บริษัทได้ทำการสำรวจออนไลน์ ว่าผู้ใช้ต้องการซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์และต้องการตรวจสอบว่ามีสินค้าที่ต้องการหรือไม่
2. เรารู้แค่ว่าลูกค้าทำอะไรอยู่ แต่ไม่สามารถเห็นได้ว่าเขายิ้มหรือรู้สึกอย่างไร
3. เห็นด้วย เพราะผู้ใช้สามารถตรวจสอบได้ว่าสินค้าที่สั่งซื้อนั้น ได้จัดส่งแล้วและมีการกระตุ้นให้ตอบแบบสอบถาม ทำให้ได้ข้อมูลจากลูกค้าที่มาใช้บริการแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
ตอบ 1. ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น
2. เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ
3. การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ
4. หลักเกณฑ์ น้ำหนัก ทางเลือกที่ 1 คะแนน ทางเลือกที่ 2 คะแนนค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 20 1,000,000 บาท 12 200,000 บาท 20ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน 30 100,000 บาท 25 300,000 บาท 18สะดวกต่อการใช้งาน 20 ดี 16 พอใช้ 12ความถูกต้อง 20 ดีเยี่ยม 20 พอใช้ 8ความน่าเชื่อถือ 10 ดีเยี่ยม 10 ดีเยี่ยม 10รวม 100 83 68เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2
5. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆ หนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูล ส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น
6. เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี

อ้างอิง จากเอกสารประกอบการเรียนวิชา ระบบสาระสนเทศเพื่อการวางแผนทางการบริหาร อาจารย์ ทาริกา รัตนโสภา